เป้าหมายเรียนรู้รายสัปดาห์ : เข้าใจลักษณะภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศภูมิปะเทศ และประวัติศาสตร์ ของแต่ละประเทศในกลุ่มอาเซียนได้
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
3
|
โจทย์
: ลักษณะทางกายภาพของ
ปะเทศในกลุ่มอาเซียน
- ภูมิศาสตร์
- ภูมิอากาศ
- ภูมิปะเทศ
* ประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของแต่ละประเทศ
คำถาม
- ลักษณะทางกายภาพของแต่ละประเทศในกลุ่มอาเซียนส่งผลอย่างไรต่อสิ่งรอบข้าง
เครื่องมือคิด
Show and
share นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ และ
ภูมิปะเทศของประเทศในกลุ่มอาเซียน
Black Board
Share แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะของประเทศสิงคโปร์ที่มีอาณาเขตติดต่อกับมหาสมุทรต่างๆ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผนที่ประเทศสิงคโปร์
- Internet
- Website “World meter”
- คลิปวีดีโอ “การ์ตูนอาเซียน”
|
จันทร์ 2 ชั่วโมง
ชง
: ครูและนักเรียนดู
และวิเคราะห์รูปร่างลักษณะของประเทศสิงคโปร์
เชื่อม
: ครูและนักเรียนวิเคราะห์ร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
ชง
: ครูเปิด Website
“World meter” ซึ่งเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบันขณะ
ทั้งด้านอุปโภค บริโภค และสาธารณูปโภคต่างๆ
อัตราการเกิด การเสียชีวิต และการใช้ทรัพยากรต่างๆของโลก
ชง
: ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “จากข้อมูลที่ได้ดู
นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง?”
เชื่อม
:
นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็น
อังคาร 2 ชั่วโมง
ชง : “ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าลักษณะทางกายภาพของแต่ละประเทศในกลุ่มอาเซียนส่งผลอย่างไรต่อสิ่งรอบข้าง?”
เชื่อม
: นักเรียนแต่ละคนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- นักเรียน แต่ละคนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ และ ภูมิปะเทศ ของประเทศที่จับฉลากได้ในสัปดาห์ที่แล้ว
พุธ 2 ชั่วโมง
เชื่อม
: นักเรียนแต่ละคนสรุปและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้สืบค้นในรูปแบบแผ่นชาร์ตและนำเสนอข้อมูลผ่าน
เปเปอร์มาเช่
พฤหัสบดี 2 ชั่วโมง
ใช้ : นักเรียนแต่ละคนนำเสนอข้อมูลและอภิปรายร่วมกัน
ข้อมูลด้าน ลักษณะกายภาพของกลุ่มประเทศในอาเซียน ประกอบด้วย ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ ภูมิปะเทศ
เชื่อม : ครูเปิดคลิปวีดีโอ
“การ์ตูนอาเซียน” ให้นักเรียนเรียนดูและวิเคราะห์ร่วมกัน
ใช้ : นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงในกระดาษ
A4
ศุกร์ 2 ชั่วโมง
เชื่อม
: ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
ใช้
: นักเรียนแต่ละสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
:
- วิเคราะห์รูปร่างลักษณะของประเทศสิงคโปร์ และข้อมูล real time จาก “World meter”
- สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ และ
ภูมิปะเทศของประเทศในกลุ่มอาเซียน
- สรุปในรูปแบบแผ่นชาร์ตและนำเสนอข้อมูลผ่าน
เปเปอร์มาเช่
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิปวีดีโอ “การ์ตูนอาเซียน”
ชิ้นงาน
:
- ชาร์ตข้อมูล
- เปเปอร์มาเช่
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิปวีดีโอ “การ์ตูนอาเซียน”
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจลักษณะภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ
ภูมิปะเทศ
และประวัติศาสตร์ ของแต่ละประเทศในกลุ่มอาเซียนได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เช่นกระดาษ สี เพื่อสร้างชิ้นงานที่มีคุณภาพ
ทักษะการสื่อสาร
- นำเสนอความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของ 10 ประเทศในกลุ่มอาเซียน
- นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐานของประเทศในกลุ่มอาเซียน
ทักษะการจัดการข้อมูล
สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลจากการสืบค้นได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
ทักษะ ICT
สามารถสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องต่างๆของลักษณะทางกายภาพของประเทศในกลุ่มอาเซียนได้
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
- สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพ (อนาเขต อากาศ ภูมิประเทศ) ในประเทศของตนเองในกลุ่มอาเซียน



- จัดการข้อมูลที่ได้สืบค้น เพื่อนำเสนอร่วมกัน



- อภิปรายร่วมกันเกี่วกัของมูล ลักษณะทางกายภาพของ แต่ละประเทศในอาเซียน



- ตัวอย่างชิ้นงาน






- ตัวอย่างสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
บันทึกหลังการเรียนรู้
ตอบลบสำหรับสัปดาห์นี้เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทุกคนได้ร่วมหาข้อมูลและอภิปรายร่วมถึงทำกิจกรรมต่างๆอย่างมากมายค่ะ ทั้งเรื่องราวของประเทศของตนเอง ในกลุ่มอาเซียน โดยข้อมูลที่ได้นำมาพูดถึงนั้นก็เป็นหมวดของ ลักษณะทางกายภาพด้านอากาศ และภูมิประเทศ ค่ะ เหนือสิ่งอื่นใดข้อมูลที่แต่ละคนได้มานั้นทุกช่วงของการพูดคุยและอภิปรายกัน แต่ละคนมีเรื่องราวของประวัติศาสตร์ของประเทศนั้นๆเข้ามาเชื่อมด้วย แต่ก็ยังอยู่ในระดับพื้นฐาน ซึ่งคุณครูก็ได้ใช้โอกาสนี้ ในการนำกลับไปให้พี่ได้สืบค้นต่อ ความงอกงามในสัปดาห์นี้เห็นได้ชัดเจนเลนว่าทุกคนอยู่ในบรรยากาศของการเรียนรู้เกี่ยวกับหน่วยอาเซียน ทั้งการยืมหนังสือในห้องสมุด และเรื่องที่พูดคุยกันในชีวิตประจำวัน ก็ได้มีเรื่องประเทศต่างๆเข้ามาร่วมด้วยเสมอ ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ คุณครูใช้วิธีการขมวดความเข้าใจของพี่ๆอีกครั้งหลังจากนำเสนอเรื่องราวด้านข้อมูลเบื้องต้นของแต่ละประเทศไปแล้ว โดยการเปิดแผนที่ให้เห็นอย่างชัดเจน ว่าแต่ละประเทศตั้งอยู่ที่ไหน มีอาณาเขตติดกับใครบ้าง จากนั้นก็เปิดข้อมูลด้านต่างๆที่ถูกนำเสนอผ่าน กราฟ และการ์ตูนสนุกๆ ให้ทุกคนได้ร่วมดูและอภิปรายร่วมกัน